Linux คืออะไร
Linux คืออะไร ? ลินุกซ์ ก็คือ Unix ชนิดหนึ่งซึ่งเป็นระบบปฎิบัติการที่เป็น open source software โดยมีการพัฒนาแจกจ่ายให้ผู้ใช้งานได้ฟรี ตามความหมายของ Linux แล้วจริงๆหมายถึง Linux kernel หรือ operating system kernel ซึ่งทำหน้าที่เป็นตัวกลางเชื่อต่อระหว่าง hardware และ application เพื่อบริหารจัดการ resource ที่มีอยู่ให้เหมาะสม
เริ่มแรก Linux เกิดขึ้นจากการพัฒนาบน computer (PC) ที่ใช้ chipset Intelx86 (32bit) แต่แล้วก็มีการพัฒนาให้รองรับกับ platform อื่นๆทั่วไป เพราะการเข้าครอบครองตลาดของ Android บน Smartphone ทำให้ Linux กลายเป็นระบบปฎิบัติการที่แพร่หลายมาก อีกทั้งยังสามารถใช้งานในด้าน server หรือ mainframe
Desktop Linux เริ่มมีการเพิ่มให้รองรับการทำงานควบคู่ไปกับระบบ window เช่น X11,Mir และ Wayland บางชนิดออกแบบมาสำหรับ server ซึ่งจะตัดส่วนที่เป็น graphical ออก แล้วเพิ่ม software ที่ไว้ทำงานเป็น application platform อย่างเช่น LAMP เพราะ Linux ค่อนข้างเสรีในการติดตั้งหรือปรับแต่งระบบเพื่อตอบโจทย์ความต้องการของ user
ประวัติของ Linux
เริ่มต้องจากการคิดค้น Unix ขึ้นมา ไว้สำหรับเป็นระบบปฎิบัติการสำหรับ server และ ระบบขนาดใหญ่ ต่อมาได้มีคนพัฒนา Unix สำหรับ personal computer ขึ้นมาชื่อ “MINIX” ในปี 1987 แต่เนื่องจากอยู่ภายใต้ license สำหรับด้านการศึกษาเท่านั้น ทำให้นาย Linus Torvalds เริ่มพัฒนา operating system kernel ของตนเองขึ้นมาเพื่อใช้งาน ซึ่งสุดท้ายแล้วก็กลายมาเป็น Linux kernel
ส่วนประกอบของ Linux operation system
- The Bootloader: เป็น software ที่ทำหน้าที่จัดการเรื่องการ boot ของ computer สำหรับ user มันก็คือหน้าจอที่แสดงขึ้นมาช่วงที่กำลังเริ่มเข้าสู่ระบบปฎิบัติการ
- The kernel: ส่วนนี้เรียกได้ว่าเปรียบเสมือนคำเรียกของ “Linux” เพราะมันคือระบบส่วนกลางที่ทำหน้าจัดการทรัพยากรต่างๆเช่น CPU, memory และ อุปกรณ์ต่อเสริมต่าง เป็น layer ต่ำสุดที่อยู่ใกล้กับ OS
- Daemons: เป็นส่วนที่ทำงานอยู่เบื้องหลัง (background service) เริ่มทำงานตั้งแต่ระหว่างที่ boot และ เริ่ม login เข้าสู่ระบบ
- The Shell: เป็นคำที่มักจะคุ้นเคยกันสำหรับ Linux เพราะว่า shell คือการทำงานของคำสั่งที่ทำให้คุณสามารถควบคุมและสั่งการผ่าน การพิมพ์ตัวอักษรเข้าไป ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งที่ทำให้ user หลายคนค่อนข้างกลัวในการใช้งาน แต่ใน Linux desktop รุ่นใหม่ไม่จำเป็นต้องใช้ commnad line แล้ว
- Graphical Server: เป็นระบบที่ช่วยเสริมการแสดงผลบนจอ monitor
- Desktop Environment: คือส่วนที่ user ใช้งานจริง ซึ่งมีให้เลือกได้หลายที่โดยซึ่งก็คือชุดของ application ต่างๆที่ถูกจำมารวมกัน เช่น managers, configuration tools, web browsers, games
- Applications: เนื่องจาก Desktop enviroment นั้นไม่ได้จัด application มาครบเหมือน Window หรือ Mac เนื่องจาก Linux มี software ที่มีคุณภาพที่ง่ายต้องการค้นหาแล้วติดตั้ง Linux ที่ได้รับความนิบมส่วนใหญ่มักจะมีเครื่องมือที่ใช้สำหรับค้นหาและติดตั้ง application ติดมาให้ เช่น Ubuntu Linux ก็จะมี software center คือ apt ที่ใช้ในการ donwload และ ติดตั้ง application จากศูนย์กลาง
Reference
- Unix คืออะไร ยูนิกซ์ คือ ระบบปฏิบัติการสำหรับ server
- Linux คืออะไร ทำงานอย่างไร ลินุกซ์ เป็นระบบปฎิบัติการชนิดหนึ่ง
- Kernel คืออะไร Kernel คือ ส่วนกลางควบคุมการทำงานทุกอย่างบน OS
- รวมคำสั่ง Unix – Linux Command line พื้นฐานเบื้องต้น
- Shell คืออะไร Unix Shell หรือ Linux Shell คือ โปรแกรมรับคำสั่งให้กับ Kernel
- Shell Script คืออะไร Shell script คือ ภาษา programming ที่ใช้บน unix linux
- การเขียน Shell Script เบื้องต้น หลักการทำงาน และ เงื่อนไขการใช้
Author: Suphakit Annoppornchai
Credit: https://saixiii.com,https://www.linux.com
[…] proxy ซึ่งสำหรับ โปรแกรมที่ช่วยทำ proxy บน linux ให้สามารถออก internet ได้นั้นก็คือ proxychains […]
[…] ซึ่งสำหรับ linux ใช้เพียงแค่ 2 commnad […]
[…] LAMP กันไปแล้ว รวมถึง Linux […]
[…] จริงๆมันคือระบบปฎิบัติการ Linux ชนิดหนึงซึ่ง ลีนุกซ์ (Linux) […]
[…] L = Linux อันได้แก่ Redhat,Centos,Ubuntu,Debian,Suse […]
[…] สามารถทำงานต่าง OS กันได้ เช่น Window กับ Linux โดยสื่อสารผ่านทาง Extensible Markup Language […]
[…] Linux สามารถติดตั้งได้จาก repository […]
[…] Linux สามารถ install ผ่าน repository ได้ เช่น […]
[…] ผู้คิดค้น Linux นั้นเอง ซึ่งที่เค้าคิดค้น Git […]
[…] ใน network สามารถติดตั้งได้หลาย platform ทั้ง Linux, Unix หรือ Window โดยอาศัย pcap ในการจับ packet บน […]
[…] Linux, Unix […]
[…] Linux, Unix […]
[…] Linux, Unix […]
[…] Linux, Unix […]
[…] Linux, Unix […]
[…] Linux, Unix […]
[…] Linux, Unix […]
[…] Linux, Unix […]
[…] Linux, Unix […]
[…] Linux, Unix […]
[…] Linux, Unix […]
[…] Linux, Unix […]
[…] Linux, Unix […]
[…] Linux, Unix […]
[…] Linux, Unix […]
[…] Linux, Unix […]
[…] Linux, Unix […]
[…] Linux, Unix […]
[…] Linux, Unix […]
[…] Linux, Unix […]
[…] Linux, Unix […]
[…] Linux, Unix […]
[…] Linux, Unix […]
[…] Linux, Unix […]
[…] Linux, Unix […]
[…] Linux, Unix […]
[…] Linux, Unix […]
[…] Linux, Unix […]
[…] Linux, Unix […]
[…] Linux, Unix […]
[…] Linux, Unix […]
[…] Linux, Unix […]
[…] Linux, Unix […]
[…] Linux, Unix […]
[…] Linux, Unix […]
[…] Linux, Unix […]
[…] Linux, Unix […]
[…] Linux, Unix […]
[…] Linux, Unix […]
[…] Linux, Unix […]
[…] Linux, Unix […]
[…] Linux, Unix […]
[…] Linux, Unix […]
[…] Linux, Unix […]
[…] Linux, Unix […]
[…] Linux, Unix […]
[…] Linux, Unix […]
[…] Linux, Unix […]
[…] Linux, Unix […]
[…] Linux, Unix […]
[…] Linux, Unix […]
[…] Linux, Unix […]
[…] Linux, Unix […]
[…] Linux, Unix […]
[…] Linux, Unix […]
[…] Linux, Unix […]
[…] Linux, Unix […]
[…] Linux, Unix […]
[…] Linux, Unix […]
[…] Linux, Unix […]
[…] Linux, Unix […]
[…] Linux, Unix […]
[…] Linux, Unix […]
[…] Linux, Unix […]
[…] Linux, Unix […]
[…] Linux, Unix […]
[…] Linux, Unix […]
[…] Linux, Unix […]
[…] Linux, Unix […]
[…] Linux, Unix […]
[…] Linux, Unix […]
[…] Linux, Unix […]
[…] Linux, Unix […]
[…] Linux, Unix […]
[…] Linux, Unix […]
[…] Linux, Unix […]
[…] Linux, Unix […]
[…] Linux, Unix […]
[…] Linux, Unix […]
[…] Linux, Unix […]
[…] Linux, Unix […]
[…] Linux, Unix […]
[…] Linux, Unix […]
[…] Linux, Unix […]
[…] Linux, Unix […]
[…] Linux, Unix […]
[…] Linux, Unix […]
[…] Linux, Unix […]
[…] Linux, Unix […]
[…] Linux, Unix […]
[…] Linux อาจจะมีคำถามกับคำว่า Kernel คืออะไร […]
[…] Unix หรือ Linux คงจะบอกว่าไม่รู้ว่า Shell script คืออะไร […]
[…] […]
[…] Unix หรือ Linux อาจจะได้ยินคำว่า shell กันบ่อยๆ […]
[…] […]
[…] Linux, Unix […]
[…] OS ด้วยกันหลายแบบ เช่น window, unix, linux ซึ่งการทำงานของ OS […]
[…] ที่เรานิยมพูดถึงหรือใช้งานกับ Unix, Linux หรือ programming ซึ่ง Unix Epoch […]
[…] linux อย่างจำกัดเพียงไม่กี่ตัว เพราะ software […]
[…] WAS สามารถรองรับได้ทั้งบน Windows,Unix, AIX, Linux, Solaris, IBM i และ z/OS เริ่มต้นตั้งแต่ Version 6.1 […]