Installation Guide
หลังจากบทความที่แล้วที่เราทำความรู้จักกับ Ubuntu Linux บทความนี้เราจะมาทำการ install ubuntu เพื่อเอามาใช้งานกันครับ
Prepare image
ในที่นี้เราเลือก Ubuntu 16.04.2 LTS เป็น release ที่ใช้ install เริ่มจากการทำการ donwload version ที่เหมาะกับระบบที่เราจะใช้ และทำการ burn image ลง CD/DVD ครับ
64bit : 64-bit PC (AMD64) desktop image , 64-bit PC (AMD64) server install image 32bit : 32-bit PC (i386) desktop image , 32-bit PC (i386) server install image
Install part
Step 1: Select Ubuntu Installer Language
เลือกภาษาที่ใช้ install (แนะนำ English)
Step 2: Install Ubuntu Server 16.04
คลิก Install Ubuntu Server
Step 3: Select Operating System Language
เลือก default language ของเครื่อง (แนะนำ English)
Step 4: Select Server Location
เลือก Other -> Asia -> Thai หรือจะใช้ United State ก็ได้
Step 5: Keyboard Detection
Click “No”
Step 6: Network configuration
Setup Lan IP หรือ ใช้ DHCP ก็ได้
Step 7: Hostname
ตั้งชื่อ hostname ของ server
Step 8: Server User Fullname
ตั้ง full name ของ user ที่จะมีสิทธิ์ระดับ admin (sudo root) อันนี้ไม่ใช้ username ที่ใช้ login เป็นเพียง description ของ username ที่จะตั้งในหัวข้อถัดไป
Step 9: Server Username
ตั้ง username ของระบบตัวแรกที่เราจะใช้ในการ console manage หลังจาก install
Step 10: Server Password
password ของ user
Step 11: Home Directory Encryption
เลือก “No” (กรณีที่ server มีข้อมูลสำคัญที่ต้องการ encrytion เพราะมีโอกาศโดย ขโมย HDD ไปแกะข้อมูลต่อให้เลือก Yes)
Step 12: Confirm Timezone
ยืนยัน timzone ที่จะใช้กับ server เลือก “Yes”
Step 13: Ubuntu Server Drive Partitioning
ในส่วนนี้จะค่อนข้างสำคัญและซับซ้อน เพราะกำลังจะเลือก แบ่ง partition disk แต่ละ path ต่าง ให้เลือก “Manual”
Step 14: Confirm Partition Scheme
ในกรณีที่ server เราเป็นเพียงแค่ PC และมี disk ไม่เยอะมาก แนะนำให้ Set ตามนี้
Path | Disk Space |
/ | 10-20 GB |
swap | 2-3 GB |
/boot | 200 MB |
/home | All existing |
Step 15: Write the Partitions to Disk
Confirm “Yes”
Step 16: Base Ubuntu 16.04 Server Installation
รอระบบ install จน complete
Step 17: Setup HTTP Proxy
ในกรณี network ที่ท่านเชื่อต่อออก internet ต้องผ่าน proxy
Step 18: APT Repository Configuration
Configure repository ของเครื่อง server
Step 19: Setup Automatic Updates
เลือกการทำ auto update หรือไม่ (แนะนำ “No…..”) ซึ่งเราสามารถ manual update ด้วย
sudo apt-get upgrade
Step 20: Ubuntu Server Tasksel
เลือก program พื่นฐานที่จะให้ติดตั้ง หลังจาก install เสร็จเลย แนะนำว่าควรเลือก
- LAMP Server -> เพื่อใช้ในการทำ webserver / datbase / webpage
- Samba file server -> Share drive ส่วนกลาง เชื่อมต่อกับ window client
- Standard system utilities
Step 21: Ubuntu Server Installation
รอระบบติดตั้ง
Step 22: MySQL Password
ถ้าเราเลือก LAMP ด้วยจะมีการ install MySQL และ setup password ของ root
Step 23: Ubuntu Server Installation Continues
และก็รอต่อไป
Step 24: GRUB Notification
GRUB คือมันเป็นเมนูที่ไว้เลือกตอนเปิดเครื่องว่าจะเปิดระบบปฏิบัติการใด จะแสดงขึ้นมาหลัง install เสร็จสิ้น ให้เลือก “Yes”
Step 25: Installing GRUB
Step 26: Finishing Ubuntu Server Installation
Step 27: Reboot Ubuntu Server
เลือก “Continue”
Step 28: Ubuntu GRUB Menu
GRUB จะให้เลือก OS ที่ใช้ Start ในกรณีไม่ต้องทำอะไรเพราะ default เป็น Ubuntu อยู่แล้ว
Step 29: First Login
ใส่ password จากนั้นก็ Hello World เชิญเข้าสู่โลก Ubuntu
Author: Suphakit Annoppornchai
Credit: https://saixiii.com , https://www.htpcbeginner.com
[…] install ubuntu กันไปเรียบร้อยแล้ว แล้ว LAMP คืออะไร? […]
[…] apache เป็น webserver นะครับ ก่อนอื่นก็ทำการ install ลงบน ubuntu linux ของเราตาม command […]
[…] ขั้นตอนการติดตั้ง Linux Ubuntu […]
[…] install LAMP (Linux, Apache, MySQL, and PHP) […]