Database SQL – ORDER BY Clause หลังจากใช้งาน SQL Select query statement กันไปแล้ว บางครั้งข้อมูลที่แสดงออกมามีจำนวนมาก และการใช้ TOP LIMIT ROWNUM Clause ก็อาจจะไม่ตอบโจทย์ความต้องการ ถ้าเราต้องการไล่ดูข้อมูลทั้งหมด แต่ต้องการดูเป็นลำดับ หรือ sort ข้อมูลด้วย column ที่ต้องการ เราสามารถใช้คำสั่ง SQL ORDER BY Clause ต้อหลัง SQL Select เพื่อให้ข้อมูลที่แสดงมีการจัดลำดับเรียงจากน้อยไปมาก หรือ มากไปน้อย ตามที่เราต้องการได้ ซึ่งคำสั่ง ORDER BY จะทำการเรียงข้อมูลจากน้อยไปมาก เป็นค่าเริ่มต้น (Default) รูปแบบ (Syntax) SQL ORDER BY Clause ที่ใช้งานภายใต้ SQL Select query statement SELECT column-list…
Database SQL – TOP LIMIT ROWNUM Clause คือ การจำกัดจำนวนบรรทัด
Database SQL – TOP LIMIT ROWNUM Clause หลังจากใช้งาน SQL Select query statement รวมถึงการใช้งานร่วมกับ Where Clause โดยอาศัย SQL Operator ต่างๆในการเปรียบเทียบข้อมูล ในบางครั้งข้อมูลที่แสดงผลก็ยังออกมามากเกินไป ซึ่งในความเป็นจริงเราอาจจะต้องการแค่ดูข้อมูลตัวอย่างภายใน table เท่านั้น เราสามารถใช้คำสั่ง SQL Top Clause ช่วยในการแสดงผลของมูลตัวอย่าง โดนสามารถระบุจำนวนบรรทัดที่ใช้แสดงผลได้ ซึ่งคำสั่งที่ใช้อาจจะมี keyword ไม่เหมือนกันแต่ละ database program TOP ใช้สำหรับ MS SQL Server LIMIT ใช้สำหรับ MySQLdatabase ROWNUM ใช้สำหรับ Oracle database รูปแบบ (Syntax) SQL Top clause ที่ใช้งานภายใต้ SQL Select query statement SELECT TOP…
Database SQL – Like Clause คือ การเปรียบเทียบค่าแบบส่วนประกอบ
Database SQL – Like Clause เริ่มตั้งแต่ที่เราสามารถใช้งาน SQL Select query statement รวมถึงการใช้งานร่วมกับ Where Clause โดยอาศัย SQL Operator ต่างๆในการเปรียบเทียบข้อมูล ซึ่งหนึ่งในนั้นคือ LIKE operator ที่สามารถเปรียบเทียบข้อมูลกับตัวแปร ในลักษณะที่ข้อมูลหนึ่ง เป็นส่วนประกอบ (contain) ของอีกข้อมูลหนึ่งหรือไม่ เช่น คำว่า “DAY” เป็นส่วนประกอบภายใต้คำว่า “TODAY” เราสามารถเอา Like clause มาใช้ทำการเปรียบเทียบแบบนี้ได้ โดยหลักการ widecard ซึ่งมีด้วยกัน 2 แบบคือ Percent (%) มีค่าเท่ากับตัวอักษรอะไรก็ได้ และจำนวนกี่ตัวก็ได้ Underscore (_) มีค่าเท่ากับตัวอักษรอะไรก็ได้ เพียงแค่ 1 ตัว รูปแบบ (Syntax) การนำเอา LIKE operator มาใช้งาน เราจะใช้ Percent (%)…
Database SQL – Delete Query คือ การลบข้อมูลในตารางของฐานข้อมูล
Database SQL – Delete Query จากการที่เราได้ทำ SQL Insert หรือ SQL Update ข้อมูลใน table กันไปแล้ว เรามีดูวิธีการลบข้อมูลออกจาก table ด้วยคำสั่ง SQL Delete query statement โดยสามารถใช้คำสั่งร่วมกัน Where Clause และ AND OR Clause ในการกำหนดกลุ่มของข้อมูลที่ต้องการจะลบออกจาก table รูปแบบ (Syntax) การทำ SQL Delete query statement จะเป็นการลบข้อมูลทั้งบรรทัดภายใต้ table ที่กำหนด เราใช้ Where clause statement เป็นตัวระบุบรรทัดตามเงือนไขของผู้ใช้งาน มิเช่นนั้น ถ้าไม่ระบุ where clause ระบบจะถือว่าเป็นการลบข้อมูลทั้งหมดภายใต้ table นั้น DELETE FROM table_name WHERE [condition];…
Database SQL – Update Query คือ การเปลี่ยนแปลงข้อมูลในตารางของฐานข้อมูล
Database SQL – Update Query การใช้งาน table ในฐานข้อมูล หลังจากที่ได้ทำการใส่ค่า หรือ การทำ SQL Insert into เรียบร้อยแล้ว หมายความว่าตอนนี้เรามีข้อมูลอยู่ในตาราง หรือ table เราแล้ว ทีนี้ถ้าเราต้องการปรับเปลี่ยนค่าบางอย่าง หรือ บาง column ที่มีอยู่ปัจจุบัน เราจะใช้คำสั่ง SQL Update query statement ในการแก้ไขข้อมูลที่ต้องการ โดยที่เราสามารถนำเอา Where Clause statement และ AND OR Clause มากำหนดกลุ่มของข้อมูลที่เราต้องการได้ด้วย มิเช่นนั้นการแก้ไขข้อมูล หรือ Update จะมีผลต่อข้อมูลทุกบรรทัดทั้งหมดใน table รูปแบบ (Syntax) การทำ SQL Update มีลักษณะคล้ายกับ SQL Select statement โดยเราต้องกำหนด table ที่ต้องการเปลี่ยนแปลงก่อน…
Database SQL – And Or Clause คือ การเชื่อมความสัมพันธ์ของเงื่อนไข
Database SQL – And Or Clause จากบทความที่แล้ว ที่เราใช้งานคำสั่ง SQL Select statement รวมถึงการเอา SQL Operator และตัวแปรมาสร้างเป็น SQL Expression เพื่อสร้างเป็น SQL Where Clause statement ทีนี้เราต่อที่การเงือนใขของ where clause ที่มากกว่า 1 เงือนไข โดยอาศัยการเชื่อมความสัมพันธ์ด้วย And & Or Clause ครับ ซึ่งเป็น SQL Operator อย่างหนึ่งเหมือนกัน AND Operator ใช้ทำการเชื่อมเงือนไข หลายๆเงือนไข ภายใต้ Where Clause statement รูปแบบ (Syntax) เราสามารถ เชื่อมหลายๆเงื่อนไขต่อกัน ด้วยการใช้ keyword “AND” นำหน้าแต่ละเงื่อนไขที่เพิ่มเข้ามา SELECT column1, column2, columnN FROM table_name…
Database SQL – Where Clause คือ การสร้างเงื่อนไขเพื่อเลือกข้อมูลที่ต้องการ
Database SQL – Where Clause ต่อเนื่องจากที่เราสามารถดึงข้อมูลใน table ด้วย SQL Select statement ได้เรียบร้อยแล้ว ทีนี้เราดูวิธีการสร้างเงือนไข ในกรณีที่ข้อมูลใน table มีจำนวนมาก และเราต้องการข้อมูลเฉพาะแถวที่เราต้องการตามเงือนไข เราจะเพิ่มส่วนของ SQL Where Clause statement เข้ามาช่วยในการทำ select ข้อมูลจาก table หลักการของ Where Clause ก็คือการนำเอา SQL Operator และตัวแปรมาสร้างเป็น SQL Expression ในรูปแบบ condition ไม่เพียงแค่ SQL Select statement เท่านั้นที่สามารถใช้เงื่อนไข Where Clause ได้ การลบข้อมูล หรือ Delete statement รวมถึงการเปลี่ยนแปลงข้อมูล หรือ Update statement ก็สามารถใช้ Where Clause มาช่วยได้ด้วยเช่นกัน รูปแบบ…
Database SQL – Select Query คือ การแสดงข้อมูลในตารางของฐานข้อมูล
Database SQL – Select Query หลังจากที่เราทำการ create database รวมถึง create table และ นำข้อมูล insert table กันได้เรียบร้อยแล้ว ทีนี้เราลองมาลองดึงข้อมูลที่อยู่ในตาราง หรือ table กลับออกมาเพื่อใช้ตามเงือนไขที่เราระบุกัน โดยคำสั่งที่ใช้คือ SQL Select statement ซึ่งผลลัพธ์ที่ได้จะเรียกว่า result set ที่มีลักษณะเป็นข้อมูลตาราง หรือ table ที่ประกอบด้วย column และ row รูปแบบ (Syntax) SQL Select statement จำเป็นต้องใช้ข้อมูล column name และ table name ในการระบุชุดของข้อมูลที่จะแสดง SELECT column1, column2, columnN FROM table_name; column1, column2 คือชื่อ…
Database SQL – Insert Query คือ การเพิ่มแถวข้อมูลลงในตารางของฐานข้อมูล
Database SQL – Insert Query หลังจากที่เราทำการ create database รวมถึง create table กันได้เรียบร้อยแล้ว ทีนี้เราลองมาใช้งาน table ที่สร้างกัน โดยเริ่มจากใส่ข้อมูลลงในตาราง ด้วย data type แต่ละ column ที่ต้องกำหนดให้ถูกต้อง ข้อมูลที่เพิ่มลงจะไป จะอยู่ในรูปแบบทีละแถวข้อมูล หรือ row นั่นเอง เราจะเรียกคำสั่งเพิ่มข้อมูลนี้ว่า SQL Insert into statement รูปแบบ (Syntax) SQL Insert into statement ข้อมูลที่ต้องระบุคือ table name, column name, value INSERT INTO TABLE_NAME (column1, column2, column3,…columnN) VALUES (value1, value2, value3,…valueN); คำเตือน –…
Database SQL – Drop table คือ การลบตารางออกจากฐานข้อมูล
Database SQL – Drop table หลังจากที่เราทำการ create database รวมถึง create table กันได้เรียบร้อยแล้ว มาดูกันต่อว่าแล้วเราจะลบข้อมูลตารางที่สร้างได้อย่างไร เราจะเรียกคำสั่งว่า SQL Drop table statement ซึ่งการ drop table นี้จำทำการลบข้อมูลภายใน table รวมถึงโครงสร้างของตาราง table นี้ออกจาก database และไม่สามารถดึงข้อมูลกลับมาได้อีก รูปแบบ (Syntax) SQL Drop table statement ข้อมูลที่ต้องระบุคือ table name DROP TABLE <table_name>; คำเตือน – คำสั่ง SQL Drop table statement เมื่อทำการรันสำเร็จแล้ว เราจะไม่สามารถเรียกข้อมูลภายใน table กลับคืนมาได้อีก ตัวอย่างการลบ table สมมุติว่าเรามีข้อมูล table…